วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558

            สมบัติของธาตและสารประกอบ                                                                    


สมบัติของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุในคาบ 2 และ 3
               สารประกอบออกไซด์
คุณสมบัติ
สารประกอบออกไซด์ของโลหะ
สารประกอบออกไซด์ของอโลหะ
จุดเดือด
สูง
ต่ำ
จุดหลอมเหลว
สูง
ต่ำ
ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย
เบส
กรด
สารที่ไม่ละลายน้ำ
 BeO  Al3O3
SiO2










พันธะเคมี
ชนิดของพันธะเคมี
พันธะภายในโมเลกุล
(intramolecular bond)
พันธะระหว่างโมเลกุล
(intermolecular bond)
พันธะโคเวเลนต์ (covalent bonds)
พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bonds)
พันธะไอออนิก (ionic bonds)
แรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals forces)
พันธะโลหะ ( metallic bonds)
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล - ไอออน
(molecule-ion attractions)

พันธะไอออนิก
พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่างกันมาก อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีน้อยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีมาก และทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ อะตอมครบ 8
(octat rule ) กลายเป็นไอออนบวก และไอออนลบตามลำดับ เกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ และเกิดเป็นโมเลกุลขึ้น อ่านต่อ





วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

สมบัติของธาตุในตารางธาตุ

ขนาดของอะตอม


แนวโน้มขนาดอะตอมตาม
คาบและหมู่


ขนาดของอะตอมขึ้นอยู่กับว่าอิเล็กตรอนนอกสุดของอะตอมอยู่ในระดับพลังงานใด และที่นิวเคลียสมีจำนวนโปรตอนอยู่เท่าใด ถ้าพิจารณาเฉพาะจำนวนอิเล็กตรอน อะตอมที่มีจำนวนอิเล็กตรอนมาก อิเล็กตรอนนอกสุดก็จะอยู่ในระดับพลังงานสูง อะตอมควรมีขนาดใหญ่ แต่ถ้าพิจารณาเฉพาะจำนวนโปรตอน อ่านเพิ่ม